ReadyPlanet.com


Work Permit

 

การขอใบอนุญาตทางาน

1. การขอรับใบอนุญาตทางาน

คนต่างด้าวที่ประสงค์จะทางานต้องมีวีซ่า NON - IMMIGRANT - B โดยคนต่างด้าวต้องให้นายจ้าง/สถานประกอบการจัดเตรียมและส่งสัญญาจ้างพร้อมเอกสารการดาเนินงานธุรกิจของสถานประกอบการนาไปยื่นต่อสถานทูตไทยในประเทศนั้น ๆ พิจารณาออกวีซ่า NON - IMMIGRANT - B โดยเมื่อคนต่างด้าวได้รับวีซ่านั้นแล้ว จึงเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร และยื่นขอรับใบอนุญาตทางานตามแบบคาขอ

“ตท.1”

หากสถานทูตไทยในประเทศนั้นพิจารณาเอกสารการดาเนินธุรกิจและสถานะทางการเงินของนายจ้าง/สถานประกอบการแล้วเห็นว่ายังไม่เพียงพอต่อการจ้างคนต่างด้าวเข้าทางาน ทาให้ต้องการหนังสือจากกระทรวงแรงงานต่อไปอีก จึงให้นายจ้าง/สถานประกอบการยื่นคาขอรับใบอนุญาตทางานแทนคนต่างด้าวตามแบบคาขอ

“ตท.3” เมื่อนายจ้าง/สถานประกอบการได้รับหนังสือแจ้งการพิจารณาอนุญาตทางานแล้ว ต้องจัดส่งหนังสือดังกล่าวพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องให้คนต่างด้าวนาไปยื่นขอวีซ่า NON – IMMIGRANT - B ณ สถานทูตไทยในประเทศนั้น หลังจากนั้นคนต่างด้าวจึงเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรภายใน 30 วันนับจากวันที่รับหนังสือแจ้งผลการพิจารณาอนุญาต เพื่อยื่นขอรับใบอนุญาตทางานพร้อมเอกสารตามที่ระบุไว้ในหนังสือแจ้งผล

ทั้งนี้ กรณีคนต่างด้าวที่มีใบสาคัญถิ่นที่อยู่และใบสาคัญประจาตัวคนต่างด้าวแล้ว ให้ยื่นขอรับใบอนุญาตทางานตามแบบคาขอ

“ตท.1” โดยไม่ต้องดาเนินการขอวีซ่า NON - IMMIGRANT - B

2. คนต่างด้าวต้องไม่เป็นบุคคลที่ขาดคุณสมบัติหรือลักษณะต้องห้ามตามเงื่อนไข

2.1 มีความรู้และความสามารถในการทางานตามที่ขออนุญาต

2.2 ไม่เป็นบุคคลวิกลจริตหรือมีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ

2.3 ไม่เป็นผู้เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อน วัณโรคในระยะอันตราย โรคเท้าช้างในระยะปรากฏอาการอันเป็นที่รังเกียจแก่สังคม โรคติดยาเสพติดให้โทษอย่างร้ายแรง โรคพิษสุราเรื้อรัง และโรคซิฟิลิสในระยะที่ 3

2.4 ไม่เคยต้องโทษจาคุกในความผิดตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองหรือกฎหมายว่าด้วยการทางานของ คนต่างด้าวภายในระยะเวลาหนึ่งปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต

ดังนี้

3. คนต่างด้าวต้องไม่ขอทางานตามพระราชกฤษฎีกากาหนดงานในอาชีพและวิชาชีพที่ห้ามคนต่างด้าวทา พ.ศ. 2522

จานวน 39 อาชีพ (เรียกดูข้อมูลในเมนู “ข้อมูลเผยแพร่”)

4. หลักเกณฑ์การพิจารณาออกใบอนุญาตทางานให้คนต่างด้าว

- ความมั่นคงภายในราชอาณาจักรด้านการเมือง ศาสนา เศรษฐกิจและสังคม

- โอกาสในการประกอบอาชีพของคนไทย และความต้องการแรงงานต่างด้าวที่จาเป็นต่อการพัฒนาประเทศ

(ตัวอย่างเช่น คนต่างด้าว 1 คนต้องจ้างงานพนักงานคนไทยทางานประจา 4 คน)

- ประโยชน์จากการอนุญาตให้คนต่างด้าวทางานในตาแหน่งงานนั้น เช่น การนาเงินตราต่างประเทศเข้ามาลงทุนหรือใช้จ่ายในประเทศเป็นจานวนมาก การจ้างงานคนไทยจานวนมาก หรือการพัฒนาทักษะฝีมือคนไทยซึ่งได้รับการถ่ายทอดจากคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้ทางาน

โดยคานึงถึง

5. การกาหนดจานวนการพิจารณาออกใบอนุญาตทางาน

5.1 นายจ้างที่มีขนาดการลงทุนจากทุนจดทะเบียนชาระแล้วไม่ต่ากว่า 2 ล้านบาท หรือจดทะเบียนนิติบุคคลในต่างประเทศนาเงินจากต่างประเทศเข้ามาลงทุนไม่ต่ากว่า 3 ล้านบาท ออกใบอนุญาตทางานให้ 1 คน และให้เพิ่มขึ้นหนึ่งคนต่อขนาดการลงทุนทุก 2 หรือ 3 ล้านบาท เว้นแต่คนต่างด้าวมีคู่สมรสเป็นคนไทยซึ่งจดทะเบียนสมรสโดยถูกต้องตามกฎหมาย ขนาดของการลงทุนลดลงกึ่งหนึ่ง ทั้งนี้ไม่เกิน 10 คน /

หรือ

5.2 การออกใบอนุญาตให้คนต่างด้าวทางานกับนายจ้าง/สถานประกอบการดังต่อไปนี้ จานวนของการออกใบอนุญาตทางานเป็นไปตามความจาเป็นและเหมาะสม

- ดาเนินธุรกิจส่งออกสินค้าไปต่างประเทศและนาเงินตราต่างประเทศเข้าประเทศไม่น้อยกว่าสามสิบล้านบาทขึ้นไปในปีที่ผ่านมา /

หรือ

- ดาเนินธุรกิจท่องเที่ยว ซึ่งนาชาวต่างประเทศเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไม่น้อยกว่าห้าพันคนในรอบปีที่ผ่านมา /หรือ

- สถานประกอบการมีการจ้างงานคนไทยไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยคน /

หรือ

- เป็นงานที่ใช้เทคโนโลยีซึ่งคนไทยทาไม่ได้หรือใช้ความรู้ความชานาญเฉพาะทางเพื่อให้งานสาเร็จภายใต้โครงการที่มีระยะเวลาแน่นอน /

หรือ

- สถานประกอบการชาระภาษีเงินได้ให้แก่รัฐในรอบปีที่ผ่านมาไม่น้อยกว่า ๓ ล้านบาท /

หรือ

- หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนตามกฎหมายว่าด้วยองค์การมหาชน หรือคนต่างด้าวตามที่มีหนังสือรับรองจากหน่วยงานดังกล่าว /

หรือ

- สถาบันการศึกษาของเอกชน ซึ่งมีหนังสือแต่งตั้งให้เป็นครู/ผู้สอน/บุคลากรทางการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน กฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน /

หรือ

- มูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรอื่นที่มีวัตถุประสงค์ไม่แสวงหากาไรในทางเศรษฐกิจหรือเป็นประโยชน์ต่อสังคมโดยส่วนรวม /

หรือ

- กิจการบันเทิง มหรสพ ดนตรี ซึ่งมีลักษณะการจ้างงานเป็นครั้งคราวมีระยะเวลากาหนดไว้แน่นอน /

หรือ

- อื่น ๆ ตามที่กาหนดไว้ในระเบียบกรมการจัดหางานว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตการทางานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2552 (เรียกดูข้อมูลในเมนู “ข้อมูลเผยแพร่”)

หมายเหตุ

พิจารณารายได้ขั้นต่าของคนต่างด้าวประกอบด้วย (ตามตารางเงินได้ในหัวข้อที่ 16)

6. อายุของใบอนุญาตทางาน

พิจารณาอนุญาตให้ตามความจาเป็นของงานหรือตามที่ขอ ทั้งนี้ไม่เกิน 2 ปี/ครั้ง

7. การต่ออายุใบอนุญาตทางาน

8. การเปลี่ยนหรือเพิ่ม การทางาน สถานที่ และท้องที่ในการทางาน

- เปลี่ยน/เพิ่มที่ตั้งของสานักงานใหญ่หรือสาขา ยื่นขออนุญาตตามแบบคาขอ

คนต่างด้าวผู้รับใบอนุญาตทางาน หากประสงค์จะทางานนั้นต่อไป ต้องไปขอต่ออายุวีซ่าจากสานักงานตรวจคนเข้าเมืองก่อน แล้วจึงให้ยื่นคาขอต่ออายุใบอนุญาตทางานตามแบบคาขอ “ตท.5” โดยต้องยื่นแบบคาขอก่อนสิ้นอายุการอนุญาต ทั้งนี้ “ใบอนุญาตทางานที่สิ้นอายุแล้วไม่สามารถต่ออายุได้” คนต่างด้าวผู้ถือใบอนุญาตทางานที่ยังคงทางานกับนายจ้าง/สถานประกอบการที่อนุญาตไว้เดิม ดังนี้ “ตท.6”

- เปลี่ยน/เพิ่มประเภทหรือลักษณะงานในสถานประกอบการเดิม หรือเพิ่มนายจ้าง/สถานประกอบการแห่งใหม่ ยื่นขออนุญาตตามแบบคาขอ

“ตท.6”

9. การเปลี่ยนนายจ้าง/สถานประกอบการ

คนต่างด้าวต้องไปติดต่อสานักงานตรวจคนเข้าเมืองเพื่อลงตรา VISA พ้นหน้าที่เดิมและขออยู่ต่อในราชอาณาจักรอีก 7 วัน หรือเดินทางออกนอกราชอาณาจักรไปขอ Non - Immigrant VISA ใหม่จากสถานทูตไทย แล้วจึงยื่นขอใบอนุญาตทางานใหม่ ตามแบบคาขอ “ตท.1” เพื่อทางานกับนายจ้าง/สถานประกอบการใหม่ก่อน VISA หมดอายุ

10. คนต่างด้าวผู้ถือใบอนุญาตทางานประสงค์จะมีการเปลี่ยนแปลง

ชื่อ - นามสกุล สัญชาติ ลายมือชื่อ การย้ายที่อยู่อาศัยของคนต่างด้าว ชื่อสถานประกอบการ รายละเอียดของสถานประกอบการตามประกาศของทางราชการ และการเปลี่ยนหรือเพิ่มประเภทธุรกิจ ให้ยื่น คาร้องขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในใบอนุญาต”

11. กรณีใบอนุญาตทางานเดิมชารุดในสาระสาคัญ หรือ สูญหาย

ให้ยื่นคาขอรับใบแทนใบอนุญาตทางานภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ทราบการชารุดหรือสูญหาย ยื่นตามแบบคาขอ “ตท.4”

12. การขอยกเลิกการอนุญาตทางาน

กรณีคนต่างด้าวผู้ถือใบอนุญาตทางานลาออกจากงาน หรือนายจ้างให้ คนต่างด้าวนั้นออกจากงาน และหากมีความประสงค์จะแจ้งให้นายทะเบียนทราบ ยื่นแจ้งตามแบบ “ใบแจ้งยกเลิกการอนุญาตทางาน” ภายหลังจากคนต่างด้าวออกจากงานแล้ว โดยไม่มีบทลงโทษหรือกาหนดระยะเวลาการแจ้ง

13. การแจ้งการเข้ามาทางานอันจาเป็นและเร่งด่วน

กรณีคนต่างด้าวที่พานักอยู่นอกราชอาณาจักรมีความจาเป็นต้องเดินทางเข้ามาเพื่อทางานอันจาเป็นและเร่งด่วน โดยมีระยะเวลาสั้น ๆ ไม่เกิน 15 วัน ให้ยื่นแจ้งตามแบบคาขอ “ตท.10” ทั้งนี้ “งานที่เข้ามาทานั้นต้องมีลักษณะเป็นงานอันจาเป็นและเร่งด่วนถึงขนาด ซึ่งถ้าไม่รีบทางานดังกล่าวแล้วน่าจะเกิดความเสียหายขึ้น โดยไม่มีกาหนดการณ์ล่วงหน้า และมีระยะเวลาในการทางานแล้วเสร็จได้ภายใน 15 วัน” หมายเหตุ ไม่มีการต่ออายุให้อีก

14. สถานที่ติดต่อยื่นคาขอ

- กรุงเทพมหานคร ติดต่อ

- ในส่วนภูมิภาค/ต่างจังหวัด ติดต่อ

15. อัตราค่าธรรมเนียม

ให้ดาเนินการ ณ ท้องที่อันเป็นที่ตั้งของสถานที่ทางานของผู้ยื่นคาขอ ดังนี้ สานักบริหารแรงงานต่างด้าว ชั้น 2 กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน ถนนมิตรไมตรี ดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 สานักงานจัดหางานจังหวัดตามที่สถานประกอบการตั้งอยู่

(1) การยื่นคาขอ ฉบับละ 100 บาท

(2) ใบอนุญาต

(ก) ใบอนุญาตที่มีอายุไม่เกินสามเดือน ฉบับละ 750 บาท

(ข) ใบอนุญาตที่มีอายุเกินสามเดือนแต่ไม่เกินหกเดือน ฉบับละ 1,500 บาท

(ค) ใบอนุญาตที่มีอายุเกินหกเดือนแต่ไม่เกินหนึ่งปี ฉบับละ 3,000 บาท

(3) การต่ออายุใบอนุญาตหรือการขยายระยะเวลาการทางาน

(ก) การต่ออายุใบอนุญาตหรือการขยายระยะเวลาการทางาน

ไม่เกินสามเดือน ครั้งละ 750 บาท

(ข) การต่ออายุใบอนุญาตหรือการขยายระยะเวลาการทางาน

เกินสามเดือนแต่ไม่เกินหกเดือน ครั้งละ 1,500 บาท

(ค) การต่ออายุใบอนุญาตหรือการขยายระยะเวลาการทางาน

เกินหกเดือนแต่ไม่เกินหนึ่งปี ครั้งละ 3,000 บาท

(4) ใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ 500 บาท

(5) การอนุญาตให้เปลี่ยนหรือเพิ่มลักษณะงาน ครั้งละ 1,000 บาท

(6) การอนุญาตให้เปลี่ยนหรือเพิ่มนายจ้าง ครั้งละ 3,000 บาท

(7) การอนุญาตให้เปลี่ยนหรือเพิ่มท้องที่หรือสถานที่ทางาน ครั้งละ 1,000 บาท

(8) การอนุญาตให้เปลี่ยนหรือเพิ่มเงื่อนไขในการอนุญาต ครั้งละ 150 บาท 4

 

16. ตารางเงินได้ท้ายคาสั่งสานักงานตารวจแห่งชาติ ที่ 777/2551 ลงวันที่ 25 พฤศจิกายน 2551 ตามหลักเกณฑ์ ข้อ 2.1 (2) สัญชาติ                                                                                                                 

รายได้ขั้นต่ำ

                                                

1. ประเทศในทวีปยุโรป (ยกเว้นรัสเซีย) และออสเตรเลีย, แคนาดา, ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริกา

2. ประเทศเกาหลีใต้, สิงคโปร์, ไต้หวัน และฮ่องกง

3. ประเทศในทวีปเอเซีย (ยกเว้นญี่ปุ่น, เกาหลีใต้, สิงคโปร์,ไต้หวัน, ฮ่องกง, กัมพูชา, พม่า, ลาว และเวียดนาม) และทวีปอเมริกาใต้, ประเทศในเขตยุโรปตะวันออก, ประเทศในเขตอเมริกากลาง, เม็กซิโก, ตุรกี, รัสเซีย และแอฟริกาใต้

4. ประเทศในแอฟริกา (ยกเว้นแอฟริกาใต้), กัมพูชา, พม่า, ลาว และเวียดนาม

50,000 บาท/เดือน

45,000 บาท/เดือน

35,000 บาท/เดือน

 

25,000 บาท/เดือน

 

3
2

“คนต่างด้าวระดับฝีมือ/ชานาญการ”